กรี วระศริน (2457 - 2541)

ครูโขนลิง
ศิลปินในความอนุเคราะห์

รางวัล

การศึกษา

ผลงาน
  • พ.ศ. 2503 ถวายการสอนพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 (ขณะนั้นดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ) และพระสหาย ณ โรงเรียนจิตรลดา
  • ได้รับการคัดเลือกแสดงเป็นตัวเอกและตัวรองทางฝ่ายโขน (ลิง) เช่น หนุมาน, ชามภูวราช, สุครีพ, องคต, นิลพัท, ชมพูพาน, นางกากนาสูร เป็นต้น
  • ได้แสดงเป็นตัวประกอบ ตัวเอก และตัวรองในการแสดงละครเรื่องต่าง ๆ หลายเรื่อง เช่น พระราชมนู, พระเจ้ากรุงธน, ศึกถลาง, เจ้าหญิงแสนหวี, พระมหาเทวี, เบญจเพส, น่านเจ้า, อนุสาวรีย์ไทย, พ่อขุนผาเมือง, อิเหนา, สาวิตรี, พระลอ, อุณรุท, พระร่วง, สุวรรณหงส์, สังข์ทอง เป็นต้น
  • ด้านการแสดงเบ็ดเตล็ด เช่น รำลาวกระทบไม้, ตีกลองยาว, ในชุดเถิดเทิง เป็นต้น
แสดงฝีมือลีลาท่าโขนลิงในการรำเพลงหน้าพาทย์เพื่อบันทึกท่ารำถ่ายภาพยนตร์ของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9)
แสดงฝีมือลีลาท่าโขนลิงในการรำเพลงหน้าพาทย์เพื่อบันทึกท่ารำถ่ายภาพยนตร์ของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9)
ได้รับเกียรติเป็นผู้แสดงภาพท่ารำลงในหนังสืออธิบายนาฏศิลป์ไทย ซึ่งนายธนิต อยู่โพธิ์ อธิบดีกรมศิลปากร
ได้รับเกียรติเป็นผู้แสดงภาพท่ารำลงในหนังสืออธิบายนาฏศิลป์ไทย ซึ่งนายธนิต อยู่โพธิ์ อธิบดีกรมศิลปากร
ผลงานสร้างสรรค์ชิ้นสำคัญ เช่น รำเถิดเถิง, รำปลุกใจ, รำโคม, ชุดหนุมานจับเบญกาย และชุดหนุมานจับสุพรรณมัจฉา ในปี พ.ศ. 2498, ระบำวีรชัยสิบแปดมงกุฎ ในปี พ.ศ. 2498, กระบวนท่าการเกี้ยวพาราสี ในปี พ.ศ. 2518, กระบวนท่ารำฉุยฉายลิง ในปี พ.ศ. 2523
ผลงานสร้างสรรค์ชิ้นสำคัญ เช่น รำเถิดเถิง, รำปลุกใจ, รำโคม, ชุดหนุมานจับเบญกาย และชุดหนุมานจับสุพรรณมัจฉา ในปี พ.ศ. 2498, ระบำวีรชัยสิบแปดมงกุฎ ในปี พ.ศ. 2498, กระบวนท่าการเกี้ยวพาราสี ในปี พ.ศ. 2518, กระบวนท่ารำฉุยฉายลิง ในปี พ.ศ. 2523